เมื่อถึงวันเทโวโรหณะ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) หรือวันถัดมา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11) ในบางแห งพุทธศาสนิกชนนิยมไปทำบุญตักบาตรที่วัด โดยมีการปฏิบัติตนดังนี้ เตรียมอาหารตักบาตรเป นพิเศษ คือ ข าวต มมัดและข าวต มลูกโยน วัดบางวัดอาจจะจำลองสถานการณ วันที่พระพุทธเจ าเสด็จลงจากเทวโลกชั้นดาวดึงส คือ ประชาชนจะนั่งหรือยืนสองฝ งทางลงอุโบสถหรือศาลา ให พระสงฆ เดินเข าแถวเรียงลำดับรับบาตรตรงกลาง โดยมีมัคนายกเดินอัญเชิญพระพุทธรูปนำหน าแถวพระสงฆ หลังจากตักบาตรแล ว มีการอาราธนาศีล สมาทานศีล และรักษาศีลฟ งธรรม และทำสมาธิตามโอกาส เพื่อทำให จิตใจบริสุทธิ์ผ องใส แผ เมตตา และกรวดน้ำอุทิศส วนกุศล ให กับญาติและผู ล วงลับ และสรรพสัตว เทโวโรหณะ แปลว า การเสด็จลงจากเทวโลก (ของพระพุทธเจ า) เป นเหตุการณ ตอนหนึ่งของพระพุทธเจ า คือ ในพรรษาที่ 7 ได เสด็จขึ้นไปจำพรรษาบนเทวโลก คือ บนสวรรค ชั้นดาวดึงส เพื่อแสดงธรรมโปรดพุทธมารดา ครั้นถึงวันมหาปวารณา เสด็จจากเทวโลกในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ตำนานเล าว า พระอินทร ทรงนิมิต บันได 3 อย างถวาย คือ บันไดทอง บันไดแก วมณี บันไดเงิน หัวบันไดพาดอยู ที่ยอดเขาสิเนรุ เชิงบันไดอยู ที่ประตูเมืองสังกัสสนคร เวลาเสด็จลงทรงใช บันไดแก วมณี เหล าเทวดา ลงทางบันไดทอง เหล ามหาพรหมลงทางบันไดเงิน เรียกการเสด็จครั้งนั้นว า "เทโวโรหณะ" วันปวารณาออกพรรษา 7 ตุลาคม 2568

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3